1 สภาพทั่วไปของ กศน.ตำบล
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
เป็นที่ราบลุ่ม
อยู่ติดริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา
และมีคลองชลประทาน ( สิงห์บุรี –
ชัยนาท) ตัดผ่าน ในเขตพื้นที่ จึงทำให้มีน้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะสมกับการทำนา สภาพดินฟ้าอากาศโดยทั่วไปอยู่ในเกณฑ์ปกติ
2.2 ข้อมูลด้านประชากร
จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นที่ตำบลบางหลวง
จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นที่ตำบลบางหลวง
กุมภาพันธ์ ปี 2563
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
จำนวนประชากร(คน)
|
จำนวนครัวเรือนในพื้นที่
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
เขต อบต.
|
เขตเทศบาล
|
|||
1
|
บ้านท่าทราย
|
328
|
541
|
597
|
1138
|
|
328
|
2
|
บ้านท่าน
|
174
|
294
|
303
|
597
|
|
174
|
3
|
บ้านสวนลำไย
|
210
|
327
|
363
|
690
|
|
210
|
4
|
บ้านบางกระเบื้อง
|
727
|
681
|
732
|
1,413
|
|
727
|
5
|
บ้านกรุณา
|
630
|
506
|
610
|
1,116
|
|
630
|
6
|
บ้านดอนตะไล้
|
149
|
247
|
258
|
505
|
|
149
|
7
|
บ้านดอนมะเกลือ
|
140
|
254
|
297
|
533
|
|
140
|
|
รวม
|
2,358
|
2,850
|
3,142
|
5,992
|
|
2,358
|
ตำบลบางหลวง มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน
2,358 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาลตำบลทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น
5,992 คนแยกเป็นประชากรชาย
จำนวน 2,850 คน คิดเป็นร้อยละ 47.56 และประชากรหญิง จำนวน 3,142 คน คิดเป็นร้อยละ 52.56 ความหนาแน่นเฉลี่ย คน/ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ ได้จากเทศบาลตำบลบางหลวง
กุมภาพันธ์ ปี 2563
ช่วงอายุ (ปี)
|
เพศชาย (คน)
|
%
|
เพศหญิง (คน)
|
%
|
ร้อยละของ
ประชากรทั้งหมด (คน)
|
|
น้อยกว่า
1 ปี
|
42
|
1.47
|
32
|
1.02
|
74
|
1.23
|
1
ปี - 2 ปี
|
97
|
3.40
|
102
|
3.25
|
199
|
3.32
|
3 ปี – 5 ปี
|
95
|
3.33
|
97
|
3.09
|
192
|
3.20
|
6
ปี – 11 ปี
|
106
|
3.72
|
112
|
3.56
|
218
|
3.64
|
16
ปี – 14 ปี
|
126
|
4.42
|
184
|
5.86
|
310
|
5.17
|
15
ปี – 17 ปี
|
140
|
4.91
|
172
|
5.47
|
312
|
5.21
|
18
ปี – 25 ปี
|
241
|
8.46
|
342
|
10.88
|
583
|
9.73
|
26
ปี – 49 ปี
|
910
|
31.93
|
901
|
28.68
|
1811
|
30.22
|
50
ปี – 60 ปี
|
561
|
19.68
|
524
|
16.68
|
1085
|
18.11
|
มากกว่า
60ปีขึ้นไป
|
532
|
18.67
|
676
|
21.51
|
1208
|
20.16
|
รวม
|
2,850
|
100.00
|
3,142
|
100.00
|
5,992
|
100.00
|
จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ พบว่า
ประชากรส่วนใหญ่ อายุระหว่าง 26 – 49 ปี
จำนวน 1811 คน คิดเป็นร้อยละ
30.22
เปอร์เซ็นต์ รองลงมา
มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 1,208 คน คิดเป็นร้อยละ 20.16 เปอร์เซ็นต์
สรุปประชากรที่อาศัยอยู่จริง ณ วันสำรวจ
มีครัวเรือนทั้งหมด 2,358 ครัวเรือน
จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง ทั้งหมด 5,992
คน
เพศชาย
2,850 คน เพศหญิง 3,142
คนจำนวนผู้พิการจำแนกตามประเภทความพิการ
ประเภทผู้พิการ
|
จำนวนผู้พิการ (คน)
|
คิดเป็นร้อยละ
|
||
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
||
-ทางสมอง
|
6
|
5
|
11
|
6.39
|
-ทางสายตา
|
11
|
5
|
16
|
9.30
|
-ทางร่ายกาย
|
63
|
68
|
131
|
76.17
|
-พิการซ้ำซ้อน
|
7
|
7
|
14
|
8.14
|
รวม
|
172
|
100
|
กลุ่มผู้พิการ
เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป อันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางด้านร่างกาย จิตใจ
สติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้
จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลบางหลวง จำแนกประเภทความพิการ ส่วนใหญ่มีความพิการ ด้านร่างกาย
2.3 ข้อมูลด้านสังคม
ความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบางหลวง
จะอาศัยอยู่รวมกันอย่างเรียบง่าย ประชาชนในตำบลมีคุณภาพชีวิตที่ดี
เพราะมีการศึกษาและ สาธารณสุขอย่างทั่วถึง
เนื่องจากเขื่อนเจ้าพระยาอยู่ในเขตเทศบาล ประชาชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพทางด้านเกษตรกรรม
และนับถือศาสนาพุทธโดยมีวัดเป็น ศูนย์รวมจิตใจ
ศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ในเขตมีวัด
4 แห่ง ได้แก่
- วัดโพธิ์งาม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลบางหลวง
- วัดกรุณา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลบางหลวง
- วัดดอนตะไล้ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลบางหลวง
- วัดสวนลำไย ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลบางหลวง ยุบรวม
กับโรงเรียนเขื่อนเจ้าพระยา
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ข้อมูลพื้นฐาน
(1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
การคมนาคม
-
ถนนลาดยางสายสิงห์บุรี - ชัยนาท เชื่อมระหว่าง กศน. ตำบลบางหลวง
กับ กศน. อำเภอสรรพยา ระยะทางยาว ประมาณ 6
กิโลเมตร (กรมทางหลวง)
- ถนนลาดยางสายคลองมหาราช เชื่อมระหว่างเทศบาลตำบลบางหลวง กับ เทศบาลตำบล
ตลุก ระยะทางยาว
ประมาณ 5
กิโลเมตร (กรมทางหลวง)
- ถนนในชุมชนส่วนใหญ่จะเป็นถนนคอนกรีตและถนนลาดยางเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้าน
สรุปจำนวนถนนที่อยู่ในความดูแลของเทศบาลตำบลบางหลวง
(สาย)
-
ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 64 สาย
-
ถนนลาดยาง จำนวน 23 สาย
-
ถนนลูกรัง จำนวน 28 สาย
-
ถนนที่ลงทะเบียนทางหลวง จำนวน 12 สาย
รวม จำนวน 95 สาย
คิดเป็นร้อยละ 12.63
สรุปจำนวนระยะทางถนนที่อยู่ในความดูแลของเทศบาลตำบลบางหลวง
(เมตร)
-
ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก + ถนนลาดยาง จำนวน 22,854 เมตร
-
ถนนลูกรัง จำนวน 44,827 เมตร
รวม จำนวน 67,681
เมตร
ร้อยละของระยะทางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก+ถนนลาดยางต่อถนนลูกรัง คิดเป็นร้อยละ 33.77
ไฟฟ้า
- จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ คิดเป็นร้อยละ
100 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด
- จำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ จำนวน 7 หมู่บ้าน
- จำนวนไฟฟ้าสาธารณะ รวม
525 ดวง
ประปา
- จำนวนครัวเรือนที่มีน้ำประปา คิดเป็นร้อยละ 100
ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด
- ประปาหมู่บ้าน จำนวน 6
แห่ง มี 1
แห่ง
ที่อยู่ในความดูแลของเทศบาล
คือ ประปาหมู่บ้าน หมู่ที่ 6
บ้านดอนตะไล้
แหล่งน้ำธรรมชาติ
-
ลำน้ำ ลำห้วย จำนวน
1 สาย - บึง
หนอง จำนวน 1
แห่ง
-
แม่น้ำ จำนวน 1 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ประปาหมู่บ้าน จำนวน 6
แห่ง
การโทรคมนาคม
- การบริการไปรษณีย์ ประชาชนภายในเขต
สามารถรับการบริการได้จากที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขสาขา อำเภอสรรพยา
ใช้บริการรับส่งจดหมายและพัสดุภัณฑ์
- การติดต่อสื่อสารภายในเขตเทศบาลตำบลบางหลวง ผ่านเครือข่ายสื่อสารและโทรคมนาคม
การใช้ที่ดิน
พื้นที่ในเขตส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร ลักษณะทั่วไปของประชาชน จะอาศัยอยู่ในพื้นที่ทำกินของตนเอง โดยมีพื้นที่ทำนาทั้งหมด 11,530 ไร่ พื้นที่ทำสวนทำไร่ ประมาณ 312
ไร่
การจราจร
- สภาพการคมนาคมทางบก
บางส่วนยังเป็นถนนลูกรังใช้เพื่อการลำเลียงพืชผลทางการเกษตร ยังไม่สะดวกเท่าที่ควร
ส่วนในชุมชนใหญ่จะเป็นถนนคอนกรีตและถนนลาดยางเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้าน
2.4 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
การเกษตรกรรม
พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ
มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านจึงเหมาะแก่การเกษตรกรรม ดังนั้น
เกษตรกรส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพทำนา
รองลงมาเป็นอาชีพทำสวน , ทำไร่
และทำอาชีพประมง การเพราะเห็ดฟาง
การทำปลาย่าง ตามลำดับ
การพาณิชย์
- ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 3 แห่ง
-
อุตสาหกรรมครัวเรือน จำนวน 2 แห่ง
-
ธนาคารหมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง
การท่องเที่ยว
ภายในเขตเทศบาลตำบลบางหลวง มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ดังนี้
1. วัดกรุณา 2. วัดดอนตะไล้
3. วัดโพธิ์งาม 4. วัดสวนลำไย
5. เขื่อนเจ้าพระยา 6. วิหารหลวงพ่อหิน
7. สนามกอล์ฟ
3. วัดโพธิ์งาม 4. วัดสวนลำไย
5. เขื่อนเจ้าพระยา 6. วิหารหลวงพ่อหิน
7. สนามกอล์ฟ
รายได้เฉลี่ยครัวเรือนของประชาชนในตำบล ปี 2562
- รายได้ครัวเรือนเฉลี่ย 178,052 บาท/ปี
- รายได้บุคคลเฉลี่ย 67,752 บาท/ปี
รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนของประชาชนในตำบล ปี 2562
- รายจ่ายครัวเรือนรวมเฉลี่ย 69,902
บาท/ปี
- รายจ่ายบุคคลรวมเฉลี่ย 26,599 บาท/ปี
สถานการณ์แรงงาน
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างในชุมชนและนอกพื้นที่ ทางด้านผู้ที่ประกอบชีพเกษตรกรรม และทำนา
ในรอบปีที่ผ่านมาตำบลบางหลวงอำเภอสรรพยาได้ประสบปัญหาเรื่องภัยแล้งขาดน้ำในการทำนาทางรัฐบาลได้มีการให้ความรู้และส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อยเพื่อลดการว่างงานและไม่ทำให้พืชผลทางการเกษตรเสียหาย
และยังมีผู้ว่างงานไม่มีงานทำเพราะมีหลายปัจจัยเช่นเรื่องของเศรษฐกิจไม่ดีทำให้นายจ้างไม่จ้างงาน
จำนวนหน่วยธุรกิจที่สำคัญของตำบลบางหลวง
การพาณิชย์
- ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 3 แห่ง
-
อุตสาหกรรมครัวเรือน จำนวน 2 แห่ง
-
ธนาคารหมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง
กลุ่มอาชีพเศรษฐกิจชุมชน
ตำบลบางหลวงมีกลุ่มอาชีพเป็นที่ยอมรับในระดับตำบล
และส่งขายเป็นสินค้าของดีประจำจังหวัดชัยนาท เช่น กลุ่มกลุ่มแชมพูสมุนไพร
ที่มีสินค้าหลากหลายและได้จำหน่ายเป็นของฝากจังหวัดชัยนาท และมีกลุ่มอาชีพของตำบลบางหลวงดังนี้
ที่
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ชื่อผู้ติดต่อ
|
ที่อยู่
|
1
|
กลุ่มประดิษฐ์ ดอกไม้จันทน์
|
นางสาวบุญรอด กลัดเจริญ
|
ศาลาการเปรียญวัดกรุณา
หมู่ 5 บ้านวัดกรุณา
|
2
|
กลุ่มประดิษฐ์ ดอกไม้ผ้าใยบัว และการจับผ้าในงานต่างๆ
|
นางสุวรรณา
กรรณิการ์
|
ศาลาการเปรียญวัดกรุณา
หมู่ 5 บ้านวัดกรุณา
|
3
|
กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า
|
นายสุริยันต์
อังอินสมบัติ
|
141 หมู่ที่
5 บ้านวัดกรุณา
|
4
|
กลุ่มจักสานผักตบชวา
|
นางอำไพ
กล่ำแก้ว
|
2
หมู่ที่ 6 บ้านดอนตะไล้
|
5
|
กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ
|
นายสันทัศ
กล่ำแก้ว
|
2
หมู่ที่ 6 บ้านดอนตะไล้
|
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา
ประเภทบุคคล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทกิจกรรมทางสังคม-วัฒนธรรมและต้นทุนงบประมาณ
1.
แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ความรู้ความสามารถ
|
ที่อยู่
|
การปลูกผักปลอดสารพิษ
|
เกษตรกรรม
|
บ้านเลขที่
2 หมู่ที่ 6 ต.บางหลวง
|
การจักสานผักตบชวา
|
หัตถกรรม
|
บ้านเลขที่
2 หมู่ที่ 6 ต.บางหลวง
|
การทำพวงหรีด
, การจับผ้า , การผูกผ้า , การทำดอกไม้จันทน์
|
หัตถกรรม
|
กลุ่มผู้สูงอายุบ้านกรุณา
หมู่ที่ 5 ต.บางหลวง
|
กลุ่มการทำอาหารขนมไทย
และการทำไข่เค็ม
|
ด้านพาณิชยกรรม
|
กลุ่มสตรีหมู่ที่
1 ต.บางหลวง
|
2.
แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่
ชื่อแหล่งเรียนรู้
|
ประเภทแหล่งเรียนรู้
|
ที่ตั้ง
|
เขื่อนเจ้าพระยา
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
โบสถ์หลวงพ่อหิน
วัดกรุณา
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดชัยนาท
|
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะถ่ายทอดความรู้
|
หมู่ที่
4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
ศูนย์วิจัยพืชไร่จังหวัดชัยนาท
|
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะถ่ายทอดความรู้
|
หมู่ที่
4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
วัดสวนลำไย
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
3 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
วัดโพธิ์งาม
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
วัดกรุณา
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
5 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
วัดดอนตะไล้
|
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
หมู่ที่
6 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงตำบล บางหลวง
|
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะถ่ายทอดความรู้
|
หมู่ที่
6 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
3. แหล่งสนับสนุน
ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่
ภาคีเครือข่าย
|
การสนับสนุน
|
ที่อยู่/ที่ตั้ง
|
เทศบาลตำบลบางหลวง
|
-
อาคารสถานที่ กศน.ตำบล
-
ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า
-
ยามรักษาความปลอดภัย
|
เทศบาลตำบลบางหลวง
ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 ต.บางหลวง อ.สรรพยา
|
ข้อมูลด้านการศึกษา
ปีงบประมาณ 2563
ตำบลบางหลวง
มีสถานศึกษารวมทั้งหมด 7 แห่ง มีครูจำนวน
55 คน และมีนักเรียน จำนวน 705 คน เป็นอัตราส่วนครู/อาจารย์ ต่อนักเรียน
ประมาณ 1 ต่อ 13 คน
ในแต่ละสถานศึกษาที่อยู่ในเขตตำบลบางหลวง มีจำนวนนักเรียน นักศึกษา ดังนี้
1)
โรงเรียน เขื่อนเจ้าพระยา จำนวนนักเรียน 211 คน
2)
โรงเรียน วัดกรุณา จำนวนนักเรียน 25 คน
3) โรงเรียน บุญนาคพิทยาคม จำนวนนักเรียน 53 คน
4) โรงเรียน วัดดอนตะไล้ จำนวนนักเรียน 66 คน
5) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2
แห่ง จำนวนนักเรียน 212 คน
6) กศน.ตำบล 1
แห่ง จำนวนนักเรียน 63 คน
หมายเหตุ
:
กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภาคเรียนที่ 2 ปี2562
ระดับการศึกษาของประชาชนในตำบล
หมายเหตุ : จำแนกตามข้อมูล
จปฐ. ประจำปี 2562
ที่
|
ระดับการศึกษา
|
เพศ
|
รวม
(คน)
|
%
|
|||
ชาย (คน)
|
%
|
หญิง(คน)
|
%
|
||||
1
|
ไม่เคยศึกษา
|
33
|
1.64
|
29
|
1.24
|
62
|
1.42
|
2
|
อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก
|
45
|
2.23
|
56
|
2.39
|
101
|
2.332
|
3
|
ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา
|
41
|
2.03
|
51
|
2.18
|
92
|
2.11
|
4
|
จบชั้นประถมศึกษา
|
823
|
40.8
|
1160
|
49.51
|
1983
|
45.47
|
5
|
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
430
|
21.31
|
352
|
15.02
|
782
|
17.93
|
6
|
มัธยมศึกตอนปลาย
|
309
|
15.31
|
276
|
11.78
|
585
|
13.41
|
7
|
อนุปริญญา
หรือเทียบเท่า
|
135
|
6.89
|
126
|
5.38
|
265
|
6.08
|
8
|
ปริญญาตี
หรือเทียบเท่า
|
190
|
9.42
|
273
|
11.65
|
463
|
10.62
|
9
|
สูงกว่าปริญญาตรี
|
8
|
0.40
|
20
|
0.85
|
28
|
0.64
|
รวม
|
2018
|
100.00
|
2343
|
100.00
|
4361
|
100.00
|
จากตารางข้อมูลระดับการศึกษาของประชาชนในตำบลบางหลวง
ประชากรเพศชาย จำนวน2,018 คน เพศหญิง 2,343 คน เมื่อนำมาวิเคราะห์ พบว่าผู้ที่จบชั้นประถมศึกษามีจำนวนมากที่สุด
จำนวน 1983 คน คิดเป็นร้อยละ 45.47 เปอร์เซ็นต์
เป็นเพศชาย 823 คน คิดเป็นร้อยละ 49.51 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา จบมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 782 คน
คิดเป็นร้อยละ 17.93 เปอร์เซ็นต์
เป็นเพศชาย จำนวน430 คน คิดเป็นร้อยละ
21.31 เปอร์เซ็นต์ เพศหญิง จำนวน 352 คิดเป็นร้อยละ 15.02
เปอร์เซ็นต์ และจำนวนที่น้อยที่สุด เป็นผู้ที่จบสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 28
คน คิดเป็นร้อยละ 0.64 เปอร์เซ็นต์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น